Read more: http://nanfufu.blogspot.com/2012/06/blog-post.html#ixzz4SPidy3rb }} function sparkle() { var c; if (x!=ox || y!=oy) { ox=x; oy=y; for (c=0; c Read more: http://nanfufu.blogspot.com/2012/05/blog-post_1827.html#ixzz4SPi0p5MQ EAED3212การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย: พฤศจิกายน 2016

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 13
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559


ไม่ได้มาเรียน เนื่องจากไม่สบาย

วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 12
วันที่ 14 พฤศจิกายน  2559


บรรยากาศในห้องเรียน
วันนี้เริ่มด้วยการส่งของเล่นจากที่ทำมาและแก้ไขครั้งที่แล้ว





วันนี้ในการเรียนการสอน ครูสอน กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 
กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ มี 4 องค์ประกอบ 
1. ร่ายกาย
2.พื้นที่
3.ระดับ
4.ทิศทาง
โดยครูให้นักศึหษาออกาเป็นตัวแบบให้กับเพื่อน




กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย กระ ทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดลักษณะของการจัดกิจกรรม 
  1. เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ที่มีรูปแบบของการเคลื่อนไหวดังนี้
    • การเคลื่อนไหวพื้นฐาน ได้แก่ การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
    • การเลียนแบบ เช่น ท่าทางสัตว์ ท่าทางคน เครื่องยนต์กลไก และเครื่องเล่น ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
    • การเคลื่อนไหวตามบทเพลง เช่น การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางประกอบเพลง
    • การทำท่าทางกายบริหารประกอบเพลง เช่น การทำท่าทางกายบริหารตามจังหวะและทำนองเพลง หรือคำคล้องจอง
    • การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์ เช่น การเคลื่อนไหวที่ให้เด็กคิดสร้างสรรค์ท่าทางขึ้นเอง อาจชี้นำด้วยการป้อนคำถาม เคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น ห่วงหวาย แถบผ้า ริบบิ้น ถุงทราย
    • การเล่นหรือการแสดงท่าทางตามคำบรรยายเรื่องราว เช่น การเคลื่อนไหวหรือแสดงท่าทางตามจินตนาการจากเรื่องราวหรือคำบรรยายที่ครูเล่า
    • การปฏิบัติตามคำสั่งและข้อตกลง เช่น การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางตามสัญญาหรือคำสั่งตามที่ได้ตกลงไว้ก่อนเริ่มกิจกรรม
    • การฝึกทำท่าทางเป็นผู้นำ-ผู้ตาม เช่น การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางจากความคิดสร้างสรรค์ของเด็กเอง แล้วให้เพื่อนปฏิบัติตาม
  2. ใช้เพลง เครื่องดนตรีประกอบการเคลื่อนไหว คำคล้องจอง
  3. ส่งเสริมให้เด็กได้ใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ด้วยการใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์สู่การเคลื่อนไหวลักษณะต่างๆ คือ เคลื่อนช้า ได้แก่ คืบ-คลาน เคลื่อนเร็ว เช่น วิ่ง เคลื่อนนุ่มนวล เช่น การบิน การไหว้ เคลื่อนไหวขึงขัง เช่น การกระทืบเท้าดังๆ ตีกลองดังๆ การเคลื่อนไหวแสดงท่าทางร่าเริงมีความสุข เช่น การตบมือตามจังหวะ และการเคลื่อนไหวแสดงความเศร้าโศก เสียใจ เช่น แสดงสีหน้า ท่าทาง เป็นต้น
  4. การเคลื่อนไหวแสดงทิศทาง เช่น ข้างหน้า ข้างหลัง ข้างซ้าย ข้างขวา เคลื่อนตัวขึ้น-ลง เคลื่อนไหวรอบทิศ































มีอยู่ด้วยกันคือ
1. การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
2.การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
3.การเคลื่อนไวตามคำสั่ง
4.การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม
5.การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง
6.การเคลื่อนไหวโดยความจำ

กิจกรรมเคลื่อนไหว
   โดยครูให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มละ 5-6 คน แล้วจับฉลาก เพื่อทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ในรูปแบบต่างๆ
และอาจารย์ให้กระดาษมาเพื่อมาวางแผนใน รูแบบที่เราได้




จากนั้นเริ่มได้
กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวตามข้อตกลง
การเคลื่อนไหวพื้นฐาน

  โดยเพื่อจะกำหนดสัญาณการเคลื่อนไหว โดย ถ้าครูเคาะ 1 ครั้ง ก้าว 1 ก้าว
                                                        ถ้าครูเคาะ 2 ครั้ง ก้าว 2 ก้าว
                                                        ถ้าครูเคาะ รัวๆ ให้เด็กๆเคลื่อนที่ไปรอบๆห้องอย่างรวดเร็ว
                                                        แต่ถ้าครูเคาะ 2 ครั้งติดกันใก้เด็กหยุดอยู่กับที่
                                                        

เคลื่อนไหวตามข้อตกลง
ดดยครูกำหนด คำมา มีคำว่า ท้องฟ้า ป่าไม้ ทะเล รู
      ถ้าครูพูดว่า   ท้องฟ้า    ให้ทำท่า นก บินไปมุมท้องฟ้าที่ครูกำหนด
          ถ้าครูพูดว่า    ป่าไม้   ให้ทำท่า ช้างไปมุมท้องฟ้าที่ครูกำหนด
ถ้าครูพูดว่า   ทะเล ให้ทำท่า  ปลา ว่ายไปมุมท้องฟ้าที่ครูกำหนด
                                     ถ้าครูพูดว่า  รู ให้ทำท่า งูเลื่อยไปมุมท้องฟ้าที่ครูกำหนด

                                            และสุดท้าย ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ


                                        กลุ่มที่ 2 เคลื่อนไหวประกอบเพลง






 กลุ่มที่ 3 กลุ่มดิฉันเอง
เคลื่อนไหวแบบ ผู้นำ ผู้ตาม
โดย กำหนด หน่วยสัตว์
โดยให้เด็กื้เรียบร้อยที่สุดออกมา ทำท่าสัตว์ทีตนเองอยากทำและให้ เด็กๆ ทายว่าคือตัวอะไร แล้ว พอเด็กๆทาย ก็ให้ ผู้นำ ทำท่าทางนั้นแล้วบอกว่าคือตัวอะไร แล้วให้เด็กๆที่เหลือทำตาม
จากนั้นให้ผู้นำเลือกเพื่อนที่จะมานำครั้งต่อไป
พอเสร็จกิจกรรมผู้นำผู้ตามแล้ว ก็มีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

กลุ่มที่ 4 เคลื่อนไหวตามข้อตกลง



กลุ่มที่ 5 เคลื่อนไหวตามคำสั่ง



การนำไปใช้
เข้าใจกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะในรูปแบบต่างๆมากขึ้น และสามารถนำมาใช้ได้เราสามารถบูรณาการความคิดสร้างสรรค์กับศาสตร์ต่างๆได้ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาเป็นต้น

การประเมิน
ประเมินตนเอง
มีความตั้งใจเรียน และทำกิจกรรมอย่างเต็มที่ สามารถนำความรู้ที่เคยเรียนมากลับมาใช้ได้ และมีส่วนร่วมในการตอบคำถามต่างๆ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจทำกิจกรรมต่างๆอย่างเต็มที่ มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนและนำคำที่ครูแนะนำมาปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ได้แนะนำความรู้เทคนิค กระบวนการต่างๆให้นักศึกษามาปรับใช้สามารถทำให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้








วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 11
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559


วันนี้เพื่อนๆนำของเล่นที่ประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้มานำเสนอ อาจารย์ 
แต่ดิฉันไม่ได้ไปเพราะมีธุระไปต่างจังหวะกับครอบครัว


วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 10
วันที่ 31 ตุลาคม 2559



บรรยากาศในห้องเรียน
วันนี้ครูให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมที่บูรณาการระหว่างวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์และศาสตร์ต่างๆเข้าด้วยกัน โดยต้องคำนึงถึงพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย
เพื่อที่จะให้เด็กได้ประสบการณ์ที่หลากหลาย
เพื่อที่จะให้เด็กเกิดการเรียนรู้หลายองค์
เพื่อให้เด็กเกิดกระบวนการคิด
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็ก
ด้านร่ายกาย
เด็กจะได้ การเจริญเติบโต
สุขภาพอนามัย
ประสานสัมพันธ์กล้ามเนื้อกับอวัยวะ

ด้านอารมณ์จิตใจ
เด็กจะได้อารามณ์ในขณะทำกิจกรรม
และการแสดงออกทางความรู้สึก

ด้านสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
การอยู่ร่วมกัน
การช่วยเหลือตนเอง

ด้านสติปัญญา
การคิด
ควาคิดสร้างสรรค์ และ การคิดเชิงเหตุผล

ของเล่นของเด็กปฐมวัย เครื่องซักผ้า
อุปกรณ์
กล่องลัง 2 ลัง
สีเมจิสีดำ
กระดาษสี
กรรไกร
กาว
คัตเตอร์




วิธีทำ  
1นำกระดาษหลังมาต่อๆกันกับกล่อง

2. นำกระดาษสีมาแแปะรอบกล่อง

3. เจาะรู ผ้าเครื่องซักผ้าเป็นวงกลม


       

4. ห่อให้เรียบร้อยแล้วตกแต่งให้สวยงาม




การนำไปใช้
ได้รู้ถึงการบูรณาการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ และศาสตร์อื่นๆ เข้าหากันเพื่อที่จะให้เด็กได้
เรียนรู้มากขึ้น และสามารถนำอุปกรณ์เหลือใช้มาประดิษฐ์ได้หลายหลายรูปแบบ

การประเมิน
ประเมินตนเอง
มีความตั้งใจและจดตามที่อาจารย์บอกอยู่เสมอ มีส่วนร่วมในการตอบปัญหา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆให้ความร่วมมือกันทุกคน เข้าเรียนตรงเวลา และมีความรับผิดชอบต่องาน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการนำความรู้ศาสตร์ต่างๆมาเชื่อมโยงกัน และสามารถทำให้นักศึกษาเข้าใจได้